Duty Cycle และ PWM บน Arduino

duty cycle และ PWM ใน arduino uno
การทำงานของ Duty Cycle และ PWM บน Arduino

ทำไม ?

บทความนี้จะเป็นการอธิบายและตัวอย่างสำหรับการการใช้งานคำสั่ง สามารถใช้งานได้กับไมโครคอนโทรลเลอร์ได้หลายๆ ตัวแต่ ณ ที่นี้จะแนะนำเป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino uno เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในงานอิเล็กทรอนิกส์และการพัฒนาโปรเจกต์ต่างๆ ด้วยความง่ายในการเขียนโปรแกรมและการเชื่อมต่อกับเซ็นเซอร์หรืออุปกรณ์ควบคุมอื่นๆ หนึ่งในฟีเจอร์สำคัญของ Arduino คือการสร้างสัญญาณ PWM (Pulse Width Modulation) ซึ่งสามารถนำมาใช้ในงานควบคุมมอเตอร์ ความสว่างของ LED และระบบอื่นๆ ที่ต้องการควบคุมพลังงานหรือแรงดันไฟฟ้าได้อย่างละเอียด

OSI 7 Layers ของระบบเครือข่าย

อธิบาย 7 layers OSI Model
OSI 7 Layers ของระบบเครือข่าย

OSI Model บนเครือข่าย

OSI Model หรือ Open Systems Interconnection Model เป็นมาตรฐานที่พัฒนาโดย International Organization for Standardization (ISO) เพื่อช่วยให้สามารถทำความเข้าใจและพัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีระบบ โดยแบ่งออกเป็น 7 ชั้น (Layers) ที่ทำงานร่วมกันในการสื่อสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์และระบบต่าง ๆ โดยแต่ละชั้นจะมีหน้าที่เฉพาะที่ช่วยให้ข้อมูลสามารถส่งต่อได้ตั้งแต่ผู้ส่งถึงผู้รับได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Interface และ Protocol ที่เกี่ยวข้อง IoT

arduino and interface

การสื่อสารของ IoT กับ Interface และ Protocol

Internet of Things (IoT) คือเครือข่ายของอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกันผ่านอินเทอร์เน็ต โดยอุปกรณ์เหล่านี้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อทำงานร่วมกันอย่างชาญฉลาด เช่น การควบคุมบ้านอัจฉริยะ ระบบติดตามการผลิตในอุตสาหกรรม หรือการควบคุมระบบจราจรในเมืองอัจฉริยะ แต่การเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลเหล่านี้จะต้องอาศัย interface และ protocol เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ บทความนี้จะอธิบายถึง interface และ protocol ที่ใช้ในการสื่อสารของ IoT โดยละเอียด

Interface ที่เกี่ยวข้องกับไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino

โครงงาน สิ่งประดิษฐ์
Interface ที่เกี่ยวข้องกับไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino

Interface ที่เกี่ยวข้องกับไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino

ไมโครคอนโทรลเลอร์ (Microcontroller) เป็นองค์ประกอบสำคัญในการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับการควบคุมการทำงานในระบบต่าง ๆ และหนึ่งในไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายคือ Arduino ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มที่ใช้งานง่าย และเปิดให้พัฒนาโค้ดเพื่อควบคุมฮาร์ดแวร์ได้สะดวก การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับ “Interface” ที่สามารถเชื่อมต่อกับไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อให้สามารถควบคุมและสื่อสารกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วน

Arduino IDE คืออะไร?

Arduino IDE คืออะไร ?

Arduino IDE คืออะไร?

Arduino IDE (Integrated Development Environment) เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับนักประดิษฐ์ นักศึกษาวิศวกรรม อาจารย์ ตลอดจนผู้ที่สนใจในการพัฒนาโครงการอิเล็กทรอนิกส์แบบไมโครคอนโทรลเลอร์ ด้วยความที่ Arduino มีลักษณะเด่นเรื่องความง่ายในการใช้งาน เปิดกว้างให้ผู้คนมากมายเข้าถึงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และที่สำคัญคือมีคอมมูนิตี้ขนาดใหญ่ที่คอยช่วยกันแบ่งปันความรู้และซอร์สโค้ดไลบรารี่ต่าง ๆ ซึ่งล้วนเอื้ออำนวยให้การเรียนรู้และพัฒนาโปรเจกต์เป็นไปอย่างสนุกและสร้างสรรค์

การติดตั้งไลบรารีใน Arduino IDE

การติดตั้งไลบรารีใน Arduino IDE, install library arduino ide

การติดตั้งไลบรารีใน Arduino IDE

Arduino IDE เป็นเครื่องมือสำคัญที่นักพัฒนาและผู้ที่สนใจอิเล็กทรอนิกส์ใช้ในการเขียนโค้ดและโปรแกรมลงในไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino ซึ่งการที่เราจะสามารถใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ได้นั้นต้องมีองค์ความรู้หลายๆอย่างรวมกันทั้งในส่วนซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ แต่ในที่นี้เราจะกล่าวถึง ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องซึ่งคือการใช้งาน arduino ide นั้นเองโดยในแต่ละโครงการหากต้องการเขียนติดต่อกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกที่มีความซับซ้อนเราจำเป็นต้องใช้งานไลบรารี (Library) เพิ่มเติมเพื่อทำให้การเขียนโค้ดสะดวกและง่ายขึ้น ไลบรารีใน Arduino IDE จะประกอบไปด้วยฟังก์ชันและคลาสต่าง ๆ ที่ช่วยให้การพัฒนาโปรเจกต์นั้นง่ายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งแน่นอนว่าผู้พัฒนาก็ต้องมีความรู้พื้นฐานในการเขียนโปรแกรมด้วย จึงจะสามารถทำให้การทำงานชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์เหล่านั้นประสบผลสำเร็จต่อไป .

การคิดหัวข้อสิ่งประดิษฐ์ หัวข้อโครงงานนักเรียน

หัวข้อโครงงาน
การคิดหัวข้อสิ่งประดิษฐ์ หัวข้อโครงงานนักเรียน

การคิดหัวข้อสิ่งประดิษฐ์สำหรับนักเรียนสามารถเริ่มต้นจากการวิเคราะห์ องค์ประกอบสำคัญต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา การพัฒนาทักษะ และการตอบสนองต่อความต้องการในชีวิตประจำวัน การคิดสิ่งประดิษฐ์ไม่เพียงแต่ช่วยเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์เท่านั้น แต่ยังช่วยให้นักเรียนได้ฝึกทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (STEM) ไปพร้อมกัน ผู้เขียนมักจะพบปัญหาเมื่อนักเรียนต้องการทำโครงงานสิ่งประดิษฐ์เพื่อนำมาแก้ปัญหาต่างๆ แต่พบกว่านักเรียนนักศึกษาไม่สามารถวิเคราะห์ถึงปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ไม่รู้องค์ประกอบว่าควรพิจารณาเรื่องใดบ้างต่อไปนี้คือรายละเอียดขององค์ประกอบที่สามารถนำมาใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการคิดหัวข้อสิ่งประดิษฐ์ พร้อมกับรายละเอียดเพิ่มเติมในแต่ละข้อย่อยเพื่อใช้ในการพิจารณาต่อไป :